ประวัติความเป็นมาของเทศบาล
ข้อมูลทั่วไป
อำนาจหน้าที่ของเทศบาล
นโยบายการบริหารงาน
โครงสร้างการบริหารงาน
โครงสร้างองค์กร
ข้อมูลผู้บริหาร
พนักงานเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
กิจการสภาเทศบาล
สมาชิกสภาเทศบาล
รายงานประชุมสภาเทศบาล
โครงสร้างส่วนราชการ
สำนักปลัด
กองคลัง
กองช่าง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กองการศึกษา
ข้อมูล/สาระความรู้การทำงานด้านต่างๆของเทศบาลฯ
งานพัฒนาชุมชน
มาตรฐานการให้บริการ
งบประมาณ
งานส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรม
งานวิเคราะห์นโยบายและแผน
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
งานส่งเสริมการเกษตร
งานสภาเทศบาล
คณะกรรมการชุมชนเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
แผนพัฒนาสี่ปี (พ.ศ.2561-2564)
แผนพัฒนาท้องถิ่น 2561-2565
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจร
กฎหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สรุปผลงานที่ผ่านมา
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
กิจกรรมเพื่อประชาชนในชุมชนประจำสัปดาห์
ข้อมูลศาสนสถานในเขตเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
ปฏิทินการท่องเที่ยว
ประชาคมอาเซียน (Asean)
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
สาระน่ารู้
เอกสารและแบบฟอร์มต่าง ๆ
พระราชบัญญัติอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต 58
ข้อมูลรายรับ - รายจ่าย
งบแสดงฐานะทางการเงิน
รายงานประจำปี เทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
รายงานผลการประเมินประสิทธิภาพของ อปท.(LPA)
การกำกับติดตามการดำเนินงาน ครั้งที่ 1
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตขอ
ข้อมูลสถิติการให้บริการ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสุประจำปี
คู่มือการดำเนินงานของ อปท.
สรุปผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสี่ปี (2561-64)
การวัดความรู้ในองค์กร (Knowledge Management)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2561
นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใส
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การส่งเสริมความโปร่งใส
การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
รายงานผลติดตามและประเมินผลในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2562
งบการเงิน ประจำปี
เทศบัญญัติ
แผนดำเนินงานประจำปี
การกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี
แบบสำรวจความพึงพอใจ
ผลการสำรวจความพึงพอใจ
มุมกฎหมาย
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ข้อมูลสถิติการจัดเก็บขยะมูลฝอย
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจำปี
คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงาน
งานบุคลากร
การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
แผนอัตรากำลัง 3 ปี
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แผนพัฒนาบุคคลากร
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยกรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
คำสั่งด้านการบริหารงานบุคคล
สิ่งอำนวยความสะดวกคนพิการ
รายงานและการประเมินผล
คู่มือคนพิการ
ทต.ดอยสะเก็ดขอสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างงบประมาณ 2563
ประชาสัมพันธ์การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติฯ
 
     
 
นายสุรศักดิ์ โอสถิตย์พร
นายกเทศมนตรีตำบลดอยสะเก็ด
 
 
คุยกับนายกเทศมนตรีตำบลดอยสะเก็ด
   
 
   
 
     
  นายธนายุทธ ทิพย์บุตร
รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทนปลัดเทศบาล
 
 
คุยกับปลัดเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
   
 
 
ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้
แผนที่เทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
แบบฟอร์มติดต่อผ่านเว็บ
 
   
 
ขณะนี้ 139 คน
สถิติวันนี้ 2227 คน
สถิติเดือนนี้ 32946 คน
สถิติปีนี้ 276087 คน
สถิติทั้งหมด 3072232 คน
 
  ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2552  

        

        

        

        

        

        เพลงดอยสะเก็ดเพชรล้านนา
        

 
  สามารถติดตามข่าวสาร COVID 19 จังหวัดเชียงใหม่ ได้ที่ เฟสบุ๊ค "ข้อมูลข่าวสารเฉพาะกิจของจังหวัดเชียงใหม่" LineID @cmupdate  
 
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด

   
   

บ้านศิลาดล <21 ม.ค. 52>

บ้านศิลาดล
          บ้านศิลาดล จังหวัดเชียงใหม่ สืบสานวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม เครื่องปั้นดินเผาเคลือบศิลาดล (เซลาดอน) งานทำมือ สานต่อภูมิปัญญาไทย เน้นเขียนลวดลายสีสัน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทย.
          ธุรกิจบ้านศิลาดล เริ่มต้นจากการรวมมิตรภาพของผู้หญิง 2 คน พร้อมลูกหลานคนเมืองเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.2533 บนถนนเชียงใหม่ - สันกำแพง ต.สันกลาง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่ จากหัตถกรรมในครัวเรือนเล็ก ๆ ที่เป็นทั้งที่อยู่อาศัย - โรงงานผลิต สถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร เช่น จาน ชาม ของตกแต่งบ้าน เช่น แจกัน, โคมไฟ ของขวัญ ของที่ระลึก ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับนักท่องเที่ยวทั่วโลกที่มาเที่ยวเชียงใหม่ และกลุ่มลูกค้าชาวไทยที่มีรสนิยมในการใช้ชีวิต และชื่นชมผลิตภัณฑ์ที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรมไทย
         กลุ่มนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่เดินทางมาเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งที่เดินทางมาเอง และมากับคณะทัวร์

http://www.baanceladon.com/about_us_thai.html



   


   

น้ำตกสักงาม ถ้ำหลวง แผ่นดินหวิด <21 ม.ค. 52>

ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำบลลวงเหนือ เดินทางโดยเรือเล็ก ขึ้นเรือบริเวณอ่างเก็บน้ำแม่กวง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 15 นาที

ใต้ร่มเงาของใบสักใหญ่ที่ทอดตัวยาวกว่า 13 กิโลเมตร พาเราหลุดออกมาจากสังคมภายนอกที่วุ่นวาย เพื่อไปยังชุมชนเล้กๆ แห่งหนึ่งที่มีเรื่องราวของการพึ่งพาอาศัยและอยู่ร่วมกันอย่างสมดุลจองคนกับป่า นั่นคือ "บ้านป่าสักงาม" ซึ่งตั้งอยู่ที่อำเภอสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

จากตัวเมืองเชียงใหม่เราใช้เวลาเดินทาง ชั่วโมงเศษ ตามเส้นทางสายแม่โจ้-อำเภอพร้าว ก็มาถึง "บ้านป่าสักงาม" ซึ่งมีความเป็นมา ยาวนานกว่า 300 ปี ชาวบ้านส่วใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวลัวะ ซึ่งเป็นชนชั้นดั้งเดิมของเชียงใหม่ โดยมีหลักฐานจากซากปรักหักพังของเจดีย์อิฐที่ขุดพบมากกว่า 20 จุด

 

แต่เดิมนั้นบ้านป่าสักงามเป็หมู่บ้าน ที่มีความอุดมสมบูรณ์มาโดยตลอด กระทั่ง 30 กว่า ปีที่แล้ว พื้นที่ป่ากลับเสื่อมโทรมลง จากการตัดไม้ทำลายป่า น้ำตกที่เคยไหลอยู่ตลอดทั้งปีก็เหือดแห้งหายไป เหลือแต่ฝุ่นแดง จนเมื่อปี 2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชประสงค์ ให้จัดตั้งโครงการพัฒนาพื้นที่ป่าขุนแม่กวง อันเนื่องมาจากพระราชดำริขึ้น บนผืนป่ากว่า 345,000 ไร่ ใน 55 หมู่บ้าน ซึ่งอยู่ในความดูแลของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ผืนดินที่เคยแห้งแล้งกลับมาเขียวขจีอีกครั้ง

 


- จุดแรกที่เราไปเยือน คือ ฝายกั้นน้ำชนิดต่างๆ เป็นกลไกแรกที่ช่วยคืนความชุ่มชื้นให้ผืนป่า อาทิ ฝายไม้แถวเดียว ฝายไม้แกนดินเศษไม้ ฝายคอกหมูแกนดิน ฝายหินเรียง
- จุดที่สอง คือ กาดผี เป็นเนินดินสีส้มแปร๊ดสูง-ต่ำลดหลั่นกันไป ซึ่งสัตว์ป่ามักจะมาอาศัยกินดินโปาง เหตุที่เรียกกาดผี เพราะความเรียบเนียนของผืนผิวดินราวกับว่ามีใครมาเก็บกวาดไว้นั่นเอง ถัดไปไม่ไกลนัก คือ พื้นที่ของวัดห้วยเฒา ซึ่งมีซากปรักหักพังของเจดีย์เก่าแก่ที่ขุดพบในพื้นที่ของหมู่บ้าน
- จุดที่สาม คือ ถ้ำหลวง เป็นถ้ำหินปูนขนาดใหญ่มีค้างคาวอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เมื่อเดินต่อไปอีกนิดใกล้กับบริเวณ ทางออกไปถนนของหมู่บ้าน คือ พื้นที่ตัวอย่างของการปลูกไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ได้แก่ ไม้ใช้สอยและไม้เศรษฐกิจ ไม้ฟืน และไม้กินได้


เมื่อชุมชนได้ใช้ประโยชน์ จากไม้ที่ปลูกไว้แล้วนั่น ก็จะทำให้เกิดการอนุรักษ์ป่าไปโดยปริยาย อีกนั่นยังช่วยให้เกิดแหล่งดิน น้ำลำธาร เป็นประโยชน์ทั้งทางตรง และทางอ้อม เราเดินต่อไปที่พื้นที่ ป่าซับน้ำ ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ความอุดมสมบูรณ์ของป่า มีน้ำขังอยู่เป็นบริเวณกว้างมีสีคล้ายกับสนิม เนื่องจากการคายน้ำของต้นไม้ จากนั้นเรามายัง "แผ่นดินหวิด" เป็นจุดชมวิวพระอาทิตย์ตกดินที่สวยมากแห่งหนึ่ง ที่สร้างชื่อเสียงให้กับหมู่บ้าน ด้วยลักษณะพิเศษที่คล้ายกับแผ่นดินถูกตัดหายไป

เมื่อรถพาเรามาจนสุดถนน ก็พบที่ตั้งขิงท่าเรือของหมู่บ้าน ซึ่งอยู่เหนือบริเวณอ่างเก็บน้ำแม่กวง เป็นอีกเส้นทางสัญจรที่ชาวบ้านนิยมกัน เพราะช่วยร่นระยะเวลาทางได้มากกว่าทางรถ ที่วัดป่าสักงาม มีพระพุทธรูปโบราณที่ชาวบ้านไปพบโดยบังเอิญในลำห้วย เป็นพระพุทธรูปที่สร้างในสมัยเมืองสามฝั่งแกน มีอายุราว 700 กว่าปี ชาวบ้านเรียกกันว่า "พระสิงห์สาม" เป็นที่เคารพนับถือกันมาก

บ้านป่าสักงามได้รับรางวัลชนะเลิศการขยายผลโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ด้านบริหารจัดการพื้นที่ป่า เมื่อปี 2549 และเป็นชุมชนตังอย่างในด้านการอนุรักษ์ และฟื้นฟูป่า


MoreINFO


- การมาเทียวศึกษาดูงาน สามารถติดต่อล่วงหน้าได้ที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โทร 0 5338 92289 หรือ พ่อหลวงคำปิง 08 6190 3655 มีบ้านพักรับรอง และเต็นท์ไว้บริการ


- การเดินทาง เข้ามาได้ 2 ทาง คือ ทางรถตามเส้นทางแม่โจ้ อำเภอพร้าว ระยะทางประมาณ 70 กว่ากิโลเมตร ปากทางเข้าอยู่ห่างจากน้ำตกบัวตอง – น้ำพุเจ็ดสีไปไม่ไกลนัก หรือจะนั่งเรือที่อ่างเก็บน้ำขุนแม่กวงอุดมธารา ซึ่งช่วยร่นระยะทางได้ แต่ไม่สามารถนำรถยนต์ข้ามได้

 



   


   

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ <21 ม.ค. 52>

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้เป็น “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำบลป่าเมี่ยง มีเนื้อที่ประมาณ 8,500 ไร่ ห่างจากตัวอำเภอประมาณ 16 กม.

ประวัติความเป็นมา
 
   ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ก่อกำเนิดจากการที่ได้รับพระราชดำริ เมื่อวัน11 ธันวาคม พ.ศ. 2525
ที่พระราชประสงค์ที่จะให้เป็นศูนย์กลางในการศึกษา ทดลอง ที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคเหนือ และเผยแพร่แก่ราษฎรให้สามารถนำไปปฏิบัติได้ด้วยตัวเองต่อไป โดยทำการศึกษาพัฒนาป่าไม้ 3 อย่าง
ประโยชน์ 4 อย่าง คือ ใช้สอย ไม้ผล ไม้เชื้อเพลิง ซึ่งจะอำนวยประโยชน์ในการอนุรักษ์ดินและน้ำ ตลอดจนคงความชุ่มชื้นเอาไว้เป็นประโยชน์อย่างที่ 4 และ พื้นที่ต้นน้ำลำธารให้ได้ผลอย่างสมบูรณ์เป็นหลัก
 โดยต้นทางเป็นการศึกษาสภาพพื้นที่ป่าไม้ต้นน้ำลำธารและ ปลายทางเป็นการศึกษาด้านการประมงตามอ่างเก็บน้ำต่างๆ ผสมกับการศึกษาด้านการเกษตรกรรม ด้านปศุสัตว์และโคนม และด้านเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อให้เป็นศูนย์ที่สมบูรณ์แบบ
ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อราษฎรที่จะเข้ามาศึกษากิจกรรมต่างๆในศูนย์ฯ แล้วนำไปใช้ปฏิบ้ติอย่างได้ผลต่อไป ดังมีพระราชดำริว่า "ให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ทำหน้าที่เสมือน "พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต" หรืออีกนัย หนึ่งเป็น "สรุปผลการพัฒนา"
ที่ประชาชนจะเข้าไปเรียนรู้และนำไปปฏิบัติได้"

 
   "



   


   

วังธารรีสอร์ท <21 ม.ค. 52>

วังธารรีสอร์ท  อยู่เลขที่  35/1 หมู่ 8  ต.ลวงเหนือ  อ.ดอยสะเก็ด  จ.เชียงใหม่ 50220
โทร. (053) 104567-70  แฟ็กซ์ (053) 104567

 ณ วังธารรีสอร์ทคุณสามารถเลือกผ่อนคลายไปกับกิจกรรมโปรดได้หลากหลาย เดินชมสวนสวยสูดอากาศบริสุทธิ์ให้เต็มปอด ปั่นจักรยานออกกำลังกายในธรรมชาติเชียวขจี ว่ายน้ำในสระขนาดมาตรฐาน เที่ยวชมทิวทัศน์อันงดงามกว้างไกลสุดสายตาของเขื่อนแม่กวง
นอกจากนี้วังธารรีสอร์ท ยังมีห้องจัดเลี้ยง, ห้องประชุม, สัมมนา ขนาดความจุ 40 – 250 คน ไว้บริการสำหรับแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน

http://www.wangtarnresort.com/



   
   
   
   
   
   
 
     
หน้า   1 2 [3]  


 
 

 

 
Copyright © 2009-2024 โดย เทศบาลตำบลดอยสะเก็ด - http://www.tambondoisaket.org
ที่ทำการเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด 222 หมู่ที่ 4 ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50220
เว็บไซต์ออกแบบและพัฒนาโดย www.click2solutions.com