ประวัติความเป็นมาของเทศบาล
ข้อมูลทั่วไป
อำนาจหน้าที่ของเทศบาล
นโยบายการบริหารงาน
โครงสร้างการบริหารงาน
โครงสร้างองค์กร
ข้อมูลผู้บริหาร
พนักงานเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
กิจการสภาเทศบาล
สมาชิกสภาเทศบาล
รายงานประชุมสภาเทศบาล
โครงสร้างส่วนราชการ
สำนักปลัด
กองคลัง
กองช่าง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กองการศึกษา
ข้อมูล/สาระความรู้การทำงานด้านต่างๆของเทศบาลฯ
งานพัฒนาชุมชน
มาตรฐานการให้บริการ
งบประมาณ
งานส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรม
งานวิเคราะห์นโยบายและแผน
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
งานส่งเสริมการเกษตร
งานสภาเทศบาล
คณะกรรมการชุมชนเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
แผนพัฒนาสี่ปี (พ.ศ.2561-2564)
แผนพัฒนาท้องถิ่น 2561-2565
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจร
กฎหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สรุปผลงานที่ผ่านมา
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
กิจกรรมเพื่อประชาชนในชุมชนประจำสัปดาห์
ข้อมูลศาสนสถานในเขตเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
ปฏิทินการท่องเที่ยว
ประชาคมอาเซียน (Asean)
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
สาระน่ารู้
เอกสารและแบบฟอร์มต่าง ๆ
พระราชบัญญัติอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาต 58
ข้อมูลรายรับ - รายจ่าย
งบแสดงฐานะทางการเงิน
รายงานประจำปี เทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
รายงานผลการประเมินประสิทธิภาพของ อปท.(LPA)
การกำกับติดตามการดำเนินงาน ครั้งที่ 1
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตขอ
ข้อมูลสถิติการให้บริการ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสุประจำปี
คู่มือการดำเนินงานของ อปท.
สรุปผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสี่ปี (2561-64)
การวัดความรู้ในองค์กร (Knowledge Management)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี 2561
นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใส
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การส่งเสริมความโปร่งใส
การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
รายงานผลติดตามและประเมินผลในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2562
งบการเงิน ประจำปี
เทศบัญญัติ
แผนดำเนินงานประจำปี
การกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี
แบบสำรวจความพึงพอใจ
ผลการสำรวจความพึงพอใจ
มุมกฎหมาย
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ข้อมูลสถิติการจัดเก็บขยะมูลฝอย
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจำปี
คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
คู่มือการปฏิบัติงาน
งานบุคลากร
การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
แผนอัตรากำลัง 3 ปี
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แผนพัฒนาบุคคลากร
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยกรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
คำสั่งด้านการบริหารงานบุคคล
สิ่งอำนวยความสะดวกคนพิการ
รายงานและการประเมินผล
คู่มือคนพิการ
ทต.ดอยสะเก็ดขอสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างงบประมาณ 2563
ประชาสัมพันธ์การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติฯ
 
     
 
นายสุรศักดิ์ โอสถิตย์พร
นายกเทศมนตรีตำบลดอยสะเก็ด
 
 
คุยกับนายกเทศมนตรีตำบลดอยสะเก็ด
   
 
   
 
     
  นายธนายุทธ ทิพย์บุตร
รองปลัดเทศบาล รักษาราชการแทนปลัดเทศบาล
 
 
คุยกับปลัดเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
   
 
 
ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้
แผนที่เทศบาลตำบลดอยสะเก็ด
แบบฟอร์มติดต่อผ่านเว็บ
 
   
 
ขณะนี้ 60 คน
สถิติวันนี้ 505 คน
สถิติเดือนนี้ 30641 คน
สถิติปีนี้ 273782 คน
สถิติทั้งหมด 3069927 คน
 
  ตั้งแต่วันที่ 20 มกราคม 2552  

        

        

        

        

        

        เพลงดอยสะเก็ดเพชรล้านนา
        

 
  สามารถติดตามข่าวสาร COVID 19 จังหวัดเชียงใหม่ ได้ที่ เฟสบุ๊ค "ข้อมูลข่าวสารเฉพาะกิจของจังหวัดเชียงใหม่" LineID @cmupdate  
 
ประชาคมอาเซียน (Asean)
   

ประชาคมอาเซียน(Association of South East Asian Nations : ASEAN) 

ความหมายและความสำคัญของประชาคมอาเซียน
“ประชาคมอาเซียน” เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุกด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปัญหาใหม่ๆ ในระดับโลกที่ส่งผลกระทบมาถึงภูมิภาคอาเซียน เช่น ภาวะโลกร้อน การก่อการร้าย หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การเป็นประชาคมอาเซียน คือการทำให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็น “ครอบครัวเดียวกัน” ที่มีความแข็งแกร่งและมีภูมิต้านทานที่ดี โดยสมาชิกในครอบครัวมีสภาพความอยู่ที่ดี ปลอดภัย และสามารถทำมาค้าขายได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น

แรงผลักดันสำคัญที่ทำให้ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนตกลงกันที่จัดตั้งประชาคมอาเซียน อันถือเป็นการปรับปรุงตัวครั้งใหญ่และวางรากฐานของการพัฒนาของอาเซียน คือ สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ที่ทำให้อาเซียนต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ เช่นโรคระบาด อาชญากรรมข้ามชาติ ภัยพิบัติธรรมชาติ และปัญหาสิ่งแวดล้อม ภาวะโลกร้อน และความเสี่ยงที่อาเซียนอาจจะไม่สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจได้กับประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะจีนและอินเดีย ซึ่งมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด

ประชาคมอาเซียนถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม 2546 จากการที่ผู้นำอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน ที่เรียกว่า “ข้อตกลงบาหลี 2” เพื่อเห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในปี 2563 แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็จในปี 2558

 

ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 ประชาคมย่อย ซึ่งเปรียบเสมือนสามเสาหลักซึ่งเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ได้แก่
1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน  (ASEAN Security Community :ASC)มุ่งให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีระบบแก้ไขความขัดแย้งระหว่างกันได้ด้วยดี มีเสถียรภาพอย่างรอบด้าน มีกรอบความร่วมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ๆ เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง

2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)มุ่งให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวยความสะดวกในการติดต่อค้าขายระหว่างกัน อันจะทำให้ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซียน

3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Communit:ASCC)เพื่อให้ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่ร่วมกันภายใต้แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม
ในตอนนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนกำลังอยู่ระหว่างการดำเนินการให้บรรลุการเป็นประชาคมอาเซียนภายในปีเป้าหมาย 2558 โดยในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ไทยจะเป็นเจ้าภาพในช่วงปลายเดือน ก.พ.2552 นี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนจะรับรองแผนงานหรือแผนกิจกรรมการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

กำเนิดอาเซียนและวัตถุประสงค์การจัดตั้ง
 เมื่อวันที่ 8สิงหาคม 2510ณ วังสราญรมย์ (ที่ตั้งของกระทรวงการต่างประเทศไทย ในขณะนั้น) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ 5ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก-เฉียงใต้ ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ได้ลงนามใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) เพื่อจัดตั้งสมาคมความร่วมมือในระดับภูมิภาคของประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายใต้ชื่อ “สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้“ หรือ “อาเซียน” (ASEAN) ซึ่งเป็นตัวย่อของ Association of SouthEast Asian Nations ชื่อทางการ ในภาษาอังกฤษของอาเซียน ทั้งนี้ ก่อนหน้าที่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ รัฐมนตรี-ต่างประเทศของทั้ง 5ประเทศได้หารือกันเกี่ยวกับความเป็นไปได้ของการจัดตั้งสมาคมอาเซียนและยกร่างปฏิญญากรุงเทพฯ ที่แหลมแท่น จังหวัดชลบุรี

 

ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ 7ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่
(1)ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
(2)ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
(3)เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
(4)ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
(5)ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(6)เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
และ(7)เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ

นับตั้งแต่วันก่อตั้ง อาเซียนได้พยายามแสดงบทบาทในการธำรงรักษาและส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงและความเจริญร่วมกันในภูมิภาค ตลอดจนมีวิวัฒนาการ อย่างต่อเนื่องในการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศสมาชิก ตลอดจนพัฒนาการในเรื่องความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสังคม จนเป็นที่ประจักษ์แก่นานาประเทศ และนำไปสู่การขยายสมาชิกภาพ โดยบรูไนดารุสซาลาม เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 6เมื่อปี 2527เวียดนาม เข้าเป็นสมาชิกลำดับที่ 7ในปี 2538ลาวและพม่า เข้าเป็นสมาชิกพร้อมกันเมื่อปี 2540และกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกล่าสุดเมื่อปี 2542ทำให้ในปัจจุบันอาเซียนมีสมาชิกรวมทั้งหมด 10ประเทศ



 
 
 
Copyright © 2009-2024 โดย เทศบาลตำบลดอยสะเก็ด - http://www.tambondoisaket.org
ที่ทำการเทศบาลตำบลดอยสะเก็ด 222 หมู่ที่ 4 ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ 50220
เว็บไซต์ออกแบบและพัฒนาโดย www.click2solutions.com